โรคงูสวัดอาจทำให้รู้สึกเจ็บปวดเหมือนมีไฟช็อตไปทั่วร่างกาย1
คุณอาจเคยได้ยินมาว่าโรคงูสวัดทำให้เกิดความเจ็บปวดร้ายแรงเพียงใด
เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะอาการ ภาวะแทรกซ้อน รวมถึงทางเลือกในการรักษาและการป้องกัน
ใครบ้างที่มีความเสี่ยงต่อโรคงูสวัด
คุณอาจมีความเสี่ยง:
โรคงูสวัดพบได้บ่อยที่สุดในผู้ที่มีอายุ 50 ปี ขึ้นไป1
*อาการของโรคงูสวัดในผู้ป่วยแต่ละรายอาจแตกต่างกันไป ข้อความเหล่านี้
อิงตามคำอธิบายของผู้ป่วยบางรายเกี่ยวกับอาการเจ็บปวดจากโรคงูสวัดและไม่ได้แสดงถึงประสบการณ์ของผู้ป่วยทุกคน*โปรดปรึกษาแพทย์ หากคิดว่าคุณเป็นโรคงูสวัด หรือมีความเสี่ยง แพทย์ของคุณสามารถแนะนำวิธีจัดการกับอาการที่กำลังเกิดขึ้นกับคุณได้ วิธีลดความเสี่ยงของการเกิดโรค การดูแลตัวเองด้วยการสร้างสุขภาพให้แข็งแรง, รับประทานอาหารครบ 5 หมู่, พักผ่อนให้เพียงพอ, ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ, หลีกเลี่ยงการเกิดภาวะเครียด นอกจากนี้วัคซีนยังเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการป้องกันโรค และลดความรุนแรงของโรคได้
ปัจจุบัน วัคซีนป้องกันงูสวัดมีอยู่ 2 ชนิด ได้แก่3
ชนิดที่ 1 - Recombinant Zoster Vaccine |
สามารถฉีดได้ในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ฉีดจํานวน 2 เข็ม เข้ากล้ามเนื้อ ห่างกัน 2-6 เดือน หรือผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องและมีความเสี่ยงต่อโรคงูสวัด ฉีดจํานวน 2 เข็ม เข้ากล้ามเนื้อ ห่างกัน 1-2 เดือน |
ชนิดที่ 2 - Zoster Vaccine Live |
สามารถฉีดได้ในผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ฉีดจํานวน 1 เข็ม เข้าชั้นใต้ผิวหนัง |
*รูปภาพแพทย์ถูกสร้างด้วยความช่วยเหลือจาก
Artificial Intelligence
เราใช้คุกกี้เพื่อปรับปรุงประสบการณ์เว็บไซต์ของคุณ คุกกี้บางตัวมีความจำเป็นต่อการเรียกใช้เว็บไซต์ ท่านสามารถเลือกปรับคุกกี้อื่น ๆ ได้ โดยคุกกี้ประสิทธิภาพ (Performance Cookies) แสดงให้เราเห็นว่าคุณใช้เว็บไซต์อย่างไร ให้ความสนใจในเรื่องไหน และจดจำความชื่นชอบของคุณ และคุกกี้โฆษณา (Advertising Cookies) ช่วยให้เราแบ่งปันเนื้อหาที่เกี่ยวข้องให้แก่คุณได้ นโยบายคุกกี้